โครงการสื่อความหมายจิตรกรรมฝาผนังวัดมัชฌิมาวาส ผ่านการแสดงโขนและการบรรยาย

โครงการนําทุนทางวัฒนธรรมที่มุ่งนําเสนอเรื่องราวอันซับซ้อนของจิตรกรรมฝาผนังวัดมัชฌิมาวาส จังหวัด สงขลาที่มีอายุ นับร้อยปีมาสื่อความหมายผ่านการแสดงโขนโดยคนรุ่นใหม่ ควบคู่กับการบรรยายประกอบระบบ แสง (Ligthing Design ) จากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์จากกรมศิลปากร ทําให้ประสบความสําเร็จ อย่างยิ่ง โดยได้รับความชื่นชมจากผู้ชมในกลุ่มครอบครัวเป็นอย่างมาก

โครงการนี้แหวกแนวจากการนําเสนอจิตรกรรมฝาผนังแบบดั้งเดิม โดยใช้การแสดงโขน ซึ่งเป็นศิลปะการแสดง โบราณของไทย ผสมผสานกับการบรรยายจากผู้เชี่ยวชาญจากกรมศิลปากร ช่วยดึงดูดความสนใจ และ ถ่ายทอดเรื่องราวได้อย่างมีชีวิตชีวา

การมีส่วนร่วมของคนรุ่นใหม่: โครงการนี้ริเริ่มโดยคนรุ่นใหม่ในชุมชน แสดงให้เห็นถึงพลังและศักยภาพของ คนรุ่นใหม่ในการสืบสานวัฒนธรรมในบรรยากาศย้อนยุค: ด้วยการออกแบบสถานที่จัดแสดงแบบย้อนยุค ช่วย สร้างบรรยากาศเสมือนจริง ดึงดูดผู้ชมให้ดื่มด่ากับเรื่องราวในอดีต

โครงการนี้เกิดขึ้นจากความร่วมมือของชุมชนรอบวัด กรรมการวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สะท้อนให้เห็นถึง พลังของชุมชนในการร่วมกันอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมมีการจัดแสดงงาน หัตกรรมดั้งเดิม (Art and Craft) จากกลุ่มพัทลุง และมี การออกซุ้มดูดวงซึ่งเป็นโหราศาสตร์ที่โด่งดังของวัดมัชฌิมาวาสมาเป็นเวลานาน

การประชาสัมพันธ์ดําเนินการวางแผนงานการประชาสัมพันธ์โดย ททท.สํานักงานใหญ่ผ่านInfluencer คนรุ่น ใหม่ ทําให้มีพลังในการเข้าถึง New Generation ส่งเสริม ภาพลักษ์ (New Branding) ต่อกิจกรรมในวัดว่าคน รุ่นใหม่สมารถเข้าร่วมกิจกรรมงานวัดได

ปลุกกระแสความสนใจในจิตรกรรมฝาผนังวัดมัชฌิมาวาส ดึงดูดผู้คนให้มาชมและเรียนรู้เกี่ยวกับมรดกทาง วัฒนธรรมแห่งนี้ตลอดจนส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงคุณค่าของวัฒนธรรมไทย และมีส่วนร่วมในการ สืบสาน กระตุ้นเศรษฐกิจท้องถิ่น ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาเยือนวัดมัชฌิมาวาส และชุมชน


โครงการนําทุนทางวัฒนธรรมนี้ เป็นตัวอย่างที่ดีของการนําเสนอมรดกทางวัฒนธรรมในรูปแบบใหม่ โดยผสม ผสานสื่อ ดึงดูดความสนใจ และสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โครงการนี้ จึงสมควรได้รับการยกย่อง และเป็นแรงบันดาลใจให้กับโครงการอื่นๆ ที่มุ่งนําเสนอมรดกทางวัฒนธรรมไทยในรูปแบบที่สดใหม่ และเข้าถึง ได้ง่ายขึ้น

The project “Wat Kamchimawat (Central Temple) on Sriburin Road in the old town of Songkhla” is a project that conveys the significance of mural art on the walls of Wat Kamchimawat through traditional Khon performances and storytelling.

This project utilized cultural capital to present the complex narrative of the mural art on the walls of Wat Kamchimawat, a century-old temple in Songkhla, through a Khon performance by young people, coupled with lighting design commentary from expert speakers from the Department of Fine Arts. This led to tremendous success and garnered high praise from family audiences.

This project deviated from conventional mural art presentations by incorporating Khon performances, a traditional Thai performing art, blended with commentary from experts from the Department of Fine Arts, effectively capturing attention and enlivening the narrative. Engagement of the Younger Generation: Initiated by the younger generation in the community, this project showcased the power and potential of young people in preserving culture in a nostalgic atmosphere. By designing the venue in a retro style, it created a lifelike atmosphere, captivating the audience with stories of the past. This project was made possible through collaboration among the temple community, temple committee, and relevant organizations, reflecting the community’s power in collectively conserving cultural heritage, including traditional arts and crafts from the Pattani group and setting up fortune-telling booths, a renowned aspect of Wat Kamchimawat, for an extended period.

This cultural funding project is a prime example of presenting cultural heritage in a new format, blending media to capture attention and fostering collaboration from all sectors. It deserves recognition and serves as inspiration for other projects aiming to present Thai cultural heritage in fresh, accessible ways.

เครือข่ายความร่วมมือ
สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (CEA.)
ภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม
เครือข่ายจากพัทลุงชื่อกลุ่มพัทลุงรุงรัง
โรงเรียนมหาวชิราวุธ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กรรมการวัดมัฌิมาวาส
ชุมชน และผู้ประกอบการรายย่อยรอบๆวัด
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มทร.ศรีวิชัย
กรมศิลปากร
ททท.สํานักงานหาดใหญ

ที่มา https://www.thairath.co.th/futureperfect/articles/2769056